วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6.
1. ประโยชน์ของ Googleสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มได้ 3 กลุ่ม โดยแบ่งออกตามความสามารถในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้1. บริการในกลุ่มดัชนีค้นหา(Search Engines) Google Web Search Featuresประกอบด้วยบริการค้นหาต่อไปนี้1.1 Book Search :• บริการค้นหาหนังสือแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการใหม่ของ Google ที่เพิ่งเปิดให้บริการกับแฟนหนังสือโดยเฉพาะ1.2 Cached Links• :บริการช่วยจับประเด็นหรือหัวเรื่องสำคัญของเว็บไซต์ที่คุณต้องการจะค้นหา1.3 • Calculator : เครื่องคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่คุณสามารถตั้งตัวเลข โดยคีย์ลงในช่องค้นหาของ Google แล้วคลิ้กหาคำตอบที่ต้องการได้เลย1.4 • Currency Conversion : บริการแปลงหน่วยมาตราเงินสำหรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตรา1.5 • Definitions : หมวดคำศัพท์ที่คุณสามารถค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย1.6 • File Types : ดัชนีค้นหาสินค้าออนไลน์ทั่วทุกมุมโลก1.7 Groups :• ถ้าหากว่าคุณอยากรู้ข้อมูลข่าวสารที่มีคนโพสต์กันบนเว็บไซต์ สามารถค้นหาได้จากบริการนี้1.8 I ‘m Feeling Lucky :• ปุ่มบริการดัชนีค้นหาที่ช่วยให้ค้นหาเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว และตรงประเด็น โดยข้ามลิงก์ของเว็บไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ถูกตัดออกไป1.9 Images :• ระบบดัชนีค้นหารูปภาพที่คลิกได้ง่าย และเร็วทันใจ1.10 Local Search :• บริการค้นหาธุรกิจและบริการต่าง ๆ ที่เปิดในสหรัฐ อังกฤษ และแคนาดา1.11 • Movie : คุณสามารถเข้าไปดูรีวิวภาพยนตร์หรือว่าตารางโปรแกรมฉายแบบเรียลไทม์ได้จากฟีเจอร์นี้1.12 • Music Search : ดัชนีค้นหาเพลงหรือว่าดนตรีที่มีให้บริการฟังเพลงออนไลน์หรือว่าดาวน์โหลดเพลงจากทั่วโลก1.13 News Headlines :• บริการที่ทำให้คุณสามารถรู้ข้อมูลข่าวสารทันในที่ส่งมาจากรอบโลกแบบเรียลไทม์1.14 • PhoneBook : บริการค้นหาเบอร์โทรศัพท์และเลขที่บนท้องถนนของสหรัฐอเมริกา1.15 Q•&A : บริการใหม่ที่คุณอยากรู้อะไรเกี่ยวกับ Google บริการนี้ตอบปัญหาให้คุณได้ทุกเรื่อง1.16 Similar Pages :• บริการแสดงหน้าเว็บเพจที่แสดงผลในหน้าเว็บที่เกี่ยวข้อง1.17 Site Search :• กำหนดขอบเขตของการค้นหาเว็บไซต์ให้แคบลง1.18 Spell Checker :• เครื่องมือช่วยในการสะกดคำ1.19 Stock Quotes :• ดัชนีค้นหาสำหรับราคาหุ้นแบบเรียลไทม์1.20 Travel Information :• บริการตรวจสอบสายการบินในสหรัฐ รวมถึงรายงานสภาพอากาศของสนามบิน1.21 • Weather : บริการตรวจสอบสภาพอากาศและการพยากรณ์อากาศในทุกรัฐของสหรัฐ1.22 Web• Page Translation : บริการแปลหน้าเอกสารภาษาอังกฤษเป็นภาษาอื่น ๆ2. บริการในกลุ่ม Google Services2.1 Alerts :• Answer :•บริการแจ้งเตือนข่าวสารและผลการค้นหาผ่านอีเมล์แบบออนไลน์ บริการตอบคำถามให้กับคุณได้ทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ โดยนักวิจัยชื่อดังกว่า 500 คน2.2 Blog Search : บริการค้นหาหัวข้อเรื่องที่เป็น Blog•2.3 Catalogs :•ในประเด็นที่คุณสนใจ บริการค้นหารายการสินค้าที่คุณสนใจและต้องการจะสั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์2.4 • Directory : บริการค้นหาสาระสำคัญต่าง ๆ ที่อยู่บนเว็บไซต์2.5 Labs :• บริการใหม่ ๆ ของ Google ที่คุณสามารถเข้าไปทดสอบใช้งานได้ฟรี ก่อนที่จะออกมาเป็นชุดเต็มของโปรแกรม2.6 Mobile : บริการหลักของ Google• ที่สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องโทรศัพท์มือถือ เช่น บริการดัชนีค้นหาเอกสาร รูปภาพ หรือส่ง SMS2.7 News : บริการรายงานข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ• จากทั่วทุกมุมโลกที่มีให้คุณได้อ่านก่อนใคร2.8 Scholar :• บริการค้นหาเอกสารงานวิจัยใหม่ ๆ รวมทั้งบทคัดย่อจากห้องสมุดใหญ่ ๆ มากมาย2.9 • Special Searches : บริการค้นหาประเด็นสาธารณะในส่วนที่เป็นองค์กร หรือว่าสถาบันที่ไม่หวังผลกำไรต่างๆ รวมถึงบริการค้นหาเว็บไซต์ของสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีรายละเอียดในเรื่องของหลักสูตรการสอนและระเบียบวิธีการเข้าศึกษาต่อทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย2.10 • Video : บริการค้นหารายการทีวีทางโทรทัศน์ เกมโชว์ มิวสิควิดีโอ ที่คุณสามารถเช่าชั่วโมงมาดูกันแบบออนไลน์ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ของคุณ3. บริการในกลุ่ม Google Tools3.1 Blogger :• เว็บไซต์ที่มีเครื่องมือสำหรับสร้าง Blogger ของคุณเอง3.2 Code :• เครื่องมือสำหรับดาวน์โหลด APls และ Source code3.3 Desktop :• เครื่องมือสำหรับช่วยค้นหาไฟล์และข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์3.4 • Earth : เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถค้นหาแผนที่โลกจากดาวเทียม3.5 • Gmail : บริการอีเมล์รุ่นทดสอบของ Google ที่มีความจุกว่า 2.6 กิกะไบต์3.6 • Pack : ชุดเครื่องมือรวมฮิตของ Google รวมถึงบราวเซอร์สุดเก่ง3.7 • Firetox Picasa : เครื่องมือสำหรับการบริหารและจัดการรูปภาพทั้งหมดที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์3.8 • Local for Mobile : เครื่องมือสำหรับค้นหาแผนที่ของสถานที่ต่าง ๆ บนโทรศัพท์มือถือ3.9 Talk : เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถพูดคุย ส่งอีเมล์• กับเพื่อนของคุณแบบเรียลไทม์ออนไลน์3.10 Toobar :• กล่องเครื่องมือที่ทำให้เว็บไซต์ของคุณสามารถเข้าไปค้นหาข้อมูลได้โดยตรง โดยไม่ต้องเข้าไปที่เว็บไซต์ของ Google3.11 Translate :• เครื่องมือที่ทำให้คุณสามารถดูเว็บไซต์ได้หลาย ๆ ภาษา3.12 Labs :• กลุ่มของชุดเครื่องมือใหม่ ๆ ของ Google ที่คุณสามารถเข้าไปทดลองดาวน์โหลดได้ฟรี4. หากคำนึกงถึงประโยชน์ โดยทั่วไป ที่ได้รับในชีวิตประจำวัน ก็มีดังต่อไปนี้4.1 ใช้ในการสืบค้นข้อมูล แผนที่โลก แผนที่ภูมิภาคต่าง ๆ4.2 ใช้สืบค้นข้อมูลสถานที่ หรือเมือง สำคัญของประเทศต่าง ๆ4.3 ใช้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว์ สิ่งของ เป็นต้น4.4 ใช้ในการสืบค้นข้อมูลสำหรับวางแผนในการลงทุน และดำเนินการทางธุรกรรมต่าง ๆ4.5 ใช้ในการสืบค้นข้อมูลวางแผนพัฒนาประเทศ4.6 ใช้ในการสืบค้นข้อมูล ในการนำไปใช้ป้องกันรักษาความมั่นคงของประเทศ4.7 ใช้ในการสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียน และหางานทำ4.8 ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางการแพทย์ ทางการทหาร และอาชญากรรม ต่าง ๆ4.9 ให้สำหรับโฆษณาสินค้าต่าง ๆ รวมถึงการค้นหาสินค้าที่ต้องการ4.10 เปรียบเสมือนหน้าต่างของโลก สามารถค้นหาได้ทุกอย่างตามที่อยากจะรู้ เช่น สถานที่ท่องเที่ยว ได้ทั่วโลก หาที่พักโรงแรม สถานที่ราชการ เช่น สถานทูต โรงพยาบาล สถานีตำรวจ4. 11. Google เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ และศาสตร์แขนงต่าง ๆ ทุกอย่างเรียนรู้ได้จากกูเกิ้ล4. 12 . Google เปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่ของโลก มีสิ่งที่ต้องการรู้ทุกอย่าง สามารถเปิดหาได้ โดยไม่จำกัด4.13 Google ให้ความบันเทิงได้ทุกรูปแบบ เช่นดูหนัง ฟังเพลง ดูข่าวสารบ้านเมือง ข่าวเศรษฐกิจ ฯลฯ4.14 Google เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลอาหารทุกชนิด ทั้งอาหารกาย ใจ และสมอง4.15นำไปประยุกต์ใช้กับการวางแผนการดำเนินชีวิตประจำวัน2. การค้นหาข้อมูลขั้นสูงมีวิธีการดังนี้การใช้งาน google ขั้นสูง ในการค้นหาข้อมูลผมคิดว่า 80%+ ของผู้ที่เข้ามาเวปวิชากการต้องเคยใช้ Google ต่อไปนี้เป็นสิ่งที่คุณควรรู้1.Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา harvest moon back to nature Google จะค้นหาแบบ harvest AND moon AND back... (พูดง่ายๆคือค้นหาแบบแยกคำ)2. การใช้ OR (หรือ) คือการให้ Google หาข้อมูลมากขึ้นจาก คำA และ คำB (พูดง่ายๆ คือนำผลที่ได้ มารวมกันรวมกัน) วิธีใช้ พิมพ์ OR ด้วยตัวใหญ่ระหว่างคำที่ต้องการ เช่น vacation london OR paris คือหาทั้งใน London และ Paris3. Google จะละคำทั่วๆไป (เช่น the, to, of) และตัวอักษรเดี่ยว เพราะจะทำให้ค้นหาช้าลง แต่ถ้าคำพวกนั้นสามารถช่วยให้หาข้อมูลง่ายขึ้น ก็ต้องใช้เครื่องหมาย + ช่วยโดยนำไปอยู่หน้าคำนั้น (ต้องเว้นวรรคก่อนด้วย) เช่น back +to nature หรือ final fantasy +x4. Google สามารถกันขอบเขตการค้นหาให้เล็กลงด้วยการใช้ Advanced Search หรือ การค้นหา แบบพิเศษ ใน Google ภาษาไทย5. Google สามารถตัดคำพ้องรูปได้โดยใช้เครื่องหมาย - ช่วยโดยการนำไปอยู่คำที่จะตัด เช่น คำว่า bass มี 2 ความหมายคือ เกี่ยวกับปลา และดนตรีเราจะตัดที่มีความหมายเกี่ยวกับดนตรีออกโดยพิมพ์ bass -music หมายความว่า bass ที่ไม่มีคำว่า music นอกจากนี้มันยังสามารถตัดอย่างอื่นได้อีก เช่น "front mission 3" -filetype:pdf หมายความว่า เรื่องเกี่ยวกับ front mission 3 แต่ไม่แสดงไฟล์ PDF6. การค้นหาแบบทั้งวลี (คือการค้นหาทั้งกลุ่มคำ) ให้ใช้เครื่องหมาย " " เช่น "Breath of fire IV"7. Google สามารถแปลเว็บภาษา Italian, French, Spanish, German, และ Portuguese เป็น ภาษาอังกฤษได้ (โดยคลิ้กที่คำว่า "Translate this page" ด้านข้างชื่อเว็บ)8. Google สามารถหาไฟล์ในรูปแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ HTML ได้ ประเภทไฟล์ที่รองรับคือAdobe Portable Document Format (นามสกุลของไฟล์ pdf)Adobe PostScript (นามสกุลของไฟล์ ps)Lotus 1-2-3 (นามสกุลของไฟล์ wk1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)Lotus WordPro (นามสกุลของไฟล์ lwp)MacWrite (นามสกุลของไฟล์ mw)Microsoft Excel (นามสกุลของไฟล์ xls)Microsoft PowerPoint (นามสกุลของไฟล์ ppt)Microsoft Word (นามสกุลของไฟล์ doc)Microsoft Works (นามสกุลของไฟล์ wks, wps, wdb)Microsoft Write (นามสกุลของไฟล์ wri)Rich Text Format (นามสกุลของไฟล์ rtf)Text (นามสกุลของไฟล์ ans หรือ txt)วิธีใช้ filetype:นามสกุลของไฟล์ เช่น "Chrono Cross" filetype:pdf หมายความว่าเอกสารของ Chrono Cross ที่เป็น PDF และมันยังมีความสามารถดูไฟล์เหล่านั้นในรูปแบบของ HTML ได้ (โดยคลิ้ก View as HTML หรือ รูปแบบ HTML ใน Google ไทย)9. Google สามารถเก็บ Cached ของเว็บที่จะเข้าชมไว้ได้ (โดยคลิ้กที่ Cached หรือ ถูกเก็บไว้ ใน Google ภาษาไทย) ประโยชน์ของมันคือช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บบางเว็บที่อาจโดนลบไปแล้ว โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลก่อนถูกลบ (ใหม่สุดที่มันจะมีได้)10.Google สามารถค้นหาหน้าที่คล้ายกัน (โดยคลิ้ก Similar pages หรือ หน้าที่คล้ายกัน ใน Google ภาษาไทย) โดยจะค้นหาข้อมูลที่คล้ายๆ กันให้เรา เช่น ถ้าเรากำลังหาข้อมูลการวิจัย ความสามารถนี้จะช่วยให้หาข้อมูลได้มากมายในเวลาที่รวดเร็วโดยไม่ต้องเป็นห่วงเรื่อง keyword11.Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยังเว็บนั้นได้ วิธีใช้ link:ชื่อ URL เช่น link:www.google.com แต่คุณไม่สามารถใช้ความสามารถนี้ร่วมกับการหาแบบอื่นๆ ได้12.Google สามารถค้นหาเว็บที่จำเพาะเจาะจงได้ โดยพิมพ์ คำที่คุณต้องการเจาะจง site:ชื่อ URL เช่น ถ้าคุณต้องการหาเว็บเกี่ยวกับการเข้า (admission) มหาวิทยาลัย Stanford ให้พิมพ์ admission site:www.stanford.edu13.ถ้าคุณมีเวลาน้อย (และคิดว่าโชคดี) Google มีบริการการค้นหาด่วน (ชื่อบริการ I'm Feeling Lucky) โดยที่ Google จะนำเว็บที่อยู่ลำดับแรกของการค้นหา ส่งให้คุณเลย (link ไปเว็บนั้นให้เสร็จ) เช่น คุณต้องการค้นหาเว็บมหาวิทยาลัย Stanford อย่างด่วนให้พิมพ์ Stanford แล้วกด I'm Feeling Lucky หรือ ใช่เลย! เจอแน่ๆ ใน Google ไทย14.Google สามารถหาแผนที่ของสหรัฐอเมริกาได้โดยพิมพ์ ที่อยู่ ชื่อถนน พร้อมด้วยชื่อรัฐ เช่น 165 University Ave Palo Alto CA Google จะจัดการส่งแผนที่คุณภาพสูงมาให้คุณ15.Google สามารถหาเบอร์โทร (เฉพาะอเมริกา) หรือพิมพ์เบอร์โทรแล้วหาบริษัทได้โดยพิมพ์first name (or first initial), last name, city (state is optional)first name (or first initial), last name, statefirst name (or first initial), last name, area codefirst name (or first initial), last name, zip codephone number, including area codelast name, city, statelast name, zip codeแล้วแต่ว่าคุณจะใช้แบบไหน16.Google สามารถค้นหา Catalog สินค้าได้ (เข้าไปที่ http://catalogs.google.com)17.Google สามารถเก็บข้อมูลลักษณะการใช้ที่คุณต้องการได้โดยเข้าไปที่ Preferences หรือ ตัวเลือก ใน Google ไทยที่มา: วิชาการ.คอม3. web ที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล นอกจาก Google แล้ว ยังมีอื่นๆ อีก เช่นนอกจาก Google ที่คุ้นๆ ก็มีดังนี้ที่อาจจะดีกว่าพี่ Google ในบางอย่างรูปhttp://www.compfight.com/http://www.spffy.com/ไฟล์http://www.thaidirr.com/http://www.rapidshare-searcher.com/http://fileshunt.com/rapidshare.phphttp://www.data-sheet.net/เพลงhttp://www.midomi.com/http://www.songza.com/วิดีโอhttp://www.truveo.com/อื่นๆhttp://www.viewzi.com/http://www.groovle.com/4. การกำหนดหมวดหมู่ในการค้นหาโดยใช้ Googleการจัดหมวดหมู่คืออะไรการจัดหมวดหมู่ในวิกิพีเดียหมายความว่า การจัดกลุ่มบทความที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กันอยู่ภายใต้กลุ่มเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการค้นหาข้อมูลและดูเนื้อหาเรื่องที่เกี่ยวข้อง การจัดหมวดหมู่ในวิกิพีเดียสามารถทำได้โดยการใช้คำสั่งเพื่อระบุหมวดหมู่ของบทความนั้นๆ บทความที่มีการระบุหมวดหมู่จะไปอยู่รวมกันภายใต้เนื้อหาหัวข้อที่สัมพันธ์กัน โดยในหน้าหมวดหมู่นั้นๆ จะมีการจัดเรียงหัวข้อบทความตามรายชื่อตามตัวอักษรโดยอัตโนมัติการสร้างหมวดหมู่ก่อนการสร้างหมวดหมู่ ควรพิจารณาความเหมาะสมที่เนื้อหาและความสัมพันธ์กันในเนื้อหา รวมถึงการตั้งชื่อหมวดหมู่ ในแต่ละบทความควรจะมีกลุ่มหมวดหมู่เนื้อหา และในแต่ละบทความอาจจะอยู่ได้ในหลายหมวดหมู่ เช่น บทความเรื่อง "นก" อาจจะอยู่ในหมวดหมู่ "สัตว์" และหมวดหมู่ย่อยของสัตว์อีก เป็น "สัตว์ปีก" เป็นต้น การเริ่มสร้างหมวดหมู่อาจจะเริ่มสร้างชื่อหมวดหมู่ไว้ที่หน้าหมวดหมู่เพื่อจะได้วางแผนจัดการเนื้อหาก่อน หรือจะใส่ชื่อหมวดหมู่ที่หน้าบทความนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะนิยมสร้างไว้ท้ายบทความ การสร้างชื่อหมวดหมู่ใช้คำสั่งดังนี้• พิมพ์ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการหลัง category: [[category:ชื่อหมวดหมู่]]• หรือพิมพ์ชื่อหมวดหมู่ที่ต้องการหลัง หมวดหมู่: [[หมวดหมู่:ชื่อหมวดหมู่]]การสร้างหมวดหมู่ย่อยการสร้างหมวดหมู่ย่อยทำเช่นเดียวกับการสร้างหมวดหมู่บทความ แต่จะต้องกำหนดหมวดหมู่หลักก่อน เช่น ในบทความเรื่อง "นก" ก็จะสร้างชื่อหมวดหมู่ไว้สองชื่อที่บทความคือ [[หมวดหมู่:สัตว์]] และ [[หมวดหมู่:สัตว์ปีก]]การตั้งชื่อหมวดหมู่การตั้งชื่อบทความในวิกิพีเดียไทยก็จะมีแนวปฏิบัติคือตั้งตามนโยบายการตั้งชื่อบทความ หลักการหลักๆ เช่น ตั้งชื่อเป็นภาษาไทย และชื่อควรเป็นคำนามไม่เป็นคำกริยา เช่น รัก ควรเป็น ความรัก เป็นต้นการจัดเรียงหัวข้อในหมวดหมู่โดยปกติบทความที่มีการระบุหมวดหมู่ จะจัดลำดับหัวข้อตามลำดับพยัญชนะภายใต้หมวดหมู่นั้นๆ โดยอัตโนมัติ แต่ในบางกรณีเราอาจจะต้องกำหนดด้วยคำสั่งเป็นกรณีพิเศษหากต้องการให้หัวข้อบทความนั้นๆ อยู่ในส่วนที่เรากำหนด ตัวอย่างเช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า หากไม่ได้กำหนดคำสั่งพิเศษ ก็จะถูกจำแนกให้อยู่ในหมวดอักษร ภ ตามพยัญชนะที่ขึ้นต้นคำ หากเราต้องการให้จัดอยู่ในหมวดหมู่ตามพยํญชนะที่ขึ้นต้นชื่อภาษาจะต้องคั่นด้วยเครื่องหมาย แล้วตามด้วยชื่อภาษา บทความนั้นก็จะถูกจัดเข้าในหมวดหมู่พยัญชนะที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น[[หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษอังกฤษ]] และ [[หมวดหมู่:ภาษาพม่าพม่า]]จากตัวอย่างคำสั่งนี้ ภาษาอังกฤษ และพม่า ก็จะอยู่ในกลุ่มอักษร อ และอักษร พ โดยอัตโนมัติในภาษาไทย เนื่องจากโปรแกรมมีเดียวิกิย ังไม่รองรับการเรียงลำดับภาษาไทยอย่างเต็มที่ สระที่วางไว้หน้าตัวอักษร ได้แก่ สระ เ แ โ ไ ใ จะมีปัญหาในการจัดเรียง ซึ่ง ดังนั้นเมื่อชื่อบทความไหนขึ้นต้นด้วยสระดังกล่าวก็จะถูกจัดไว้ในหมวดหมู่สระเหล่านั้น วิธีที่ใช้แก้ปัญหาในตอนนี้ก็คือหลังชื่อบทความจะคั่นด้วยเครื่องหมาย เช่นเดียวกัน แล้วตามด้วยพยัญชนะตัวแรกของชื่อและตามด้วยชื่อ ตัวอย่างเช่น[[ประเทศไทยทไทย]]ที่มา : การจัดหมวดหมู่ _ lomamikywayคำสั่งในการใส่หมวดหมู่ถ้าต้องการจัดหมวดหมู่ในบทความ ให้ใส่คำสั่งไว้ในส่วนท้ายบทความ โดยใช้คำสั่ง[[หมวดหมู่:ชื่อหมวดหมู่]]เมื่อไรที่ควรจัดหมวดหมู่ทุกหน้าในวิกิพีเดียควรมีหมวดหมู่อย่างน้อย 1 หมวดหมู่ เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านบทความนั้นบทความ: ภราดร ศรีชาพันธุ์ควรจัดในหมวดหมู่: หมวดหมู่:นักเทนนิสไม่ควรเป็น: หมวดหมู่:นักกีฬาที่ชื่อขึ้นต้นด้วย ภ.สำเภาไม่ควรเป็น: หมวดหมู่:มนุษย์หลักในการตั้งชื่อบทความ โดยให้ถามตัวเองว่า1. ถ้าจะเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับชื่อบทความนั้น สามารถเขียนได้อย่างน้อย 1 ย่อหน้าหรือไมเช่น ถ้าให้เขียนว่า นักเทนนิสคืออะไร กับ นักกีฬาที่ชื่อขึ้นต้นด้วย ภ.สำเภา คืออะไร2. ถ้าบทความนั้น โยงไปหาหมวดหมู่ สามารถเห็นถึงความสัมพันธ์เฉพาะตัวที่เกิดขึ้นหรือไม่เช่น ภราดร เป็นนักเทนนิส ขณะที่ ภราดรเป็นมนุษย์ (มีความหมายกว้างเกินไป)สำหรับบทความที่มีมากกว่า 1 หมวดหมู่ ไม่ควรใส่หมวดหมู่นั้นซ้ำซ้อนลงไปในบทความเดิม เช่น ไฟร์ฟอกซ์ ชื่อซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นเบราว์เซอร์ และเป็นซอฟต์แวร์เสรี• ใส่หมวดหมู่เป็น หมวดหมู่:เว็บเบราว์เซอร์ และ หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์เสรี• ไม่ควรใส่ หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์ หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์เพราะ เว็บเบราว์เซอร์เป็นส่วนหนึ่งของซอฟต์แวร์ และซอฟต์แวร์เป็นส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ อีกทอดหนึ่งการจัดหมวดหมู่สำหรับบทความชีวประวัติการแบ่งหมวดหมู่ของบุคคลใช้คำว่า "ชาว" นำหน้า เช่น ชาวเทย ชาวไทย ชาวยุ่นปี่ ชาวสิงคโปโตก และอาจมีการแบ่งหมวดหมู่ย่อยลงไปถ้าหมวดหมู่นั้นมีบทความมากระดับนึง เช่น นักการเมืองชาวไทย นักดนตรีชาวญี่ปุ่น ฯลฯ โดยแบ่งแยกหมวดหมู่ ในปัจจุบันมี 2 ลักษณะหลักคือ แบ่งตามเชื้อชาติ และ แบ่งตามอาชีพ ก่อนการจะสร้างหมวดหมู่ของบุคคลแบ่งตามเชื้อชาติ ดูที่ หมวดหมู่:บุคคลแบ่งตามเชื้อชาติ สำหรับหมวดหมู่ย่อยที่มีการสร้างไว้แล้ววิธีการสร้าง หมวดหมู่ทำได้โดยเพียงแค่ใส่ลิงก์ที่กำหนดเป็นหมวดหมู่เพิ่มเข้าไป เช่นในบทความ สีแดง ต้องการจัดเข้าหมวดหมู่ สี ให้นำเอาข้อความ [[หมวดหมู่:สี]] ใส่ไว้ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของบทความ โดยนิยมใส่ไว้ที่ท้ายบทความวิธีการสร้างหมวดหมู่ย่อยสร้างหมวดหมู่ย่อยทำเช่นเดียวกับการสร้างหมวดหมู่ในบทความ โดยการใส่ลิงก์ที่กำหนดเป็นหมวดหมู่เข้าไป เช่น หมวดหมู่ หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่น ก็จะเป็นส่วนหนึ่งของหมวดหมู่ หมวดหมู่:การ์ตูน โดยการจัดหมวดหมู่ต้องพึงระวังว่า ระดับของหมวดหมู่นั้น ควรอยู่ระดับที่ครอบคลุมหรือระดับเดียวกัน โดย หมวดหมู่ของ หมวดหมู่:การ์ตูนไทย จะอยู่ในระดับเดียวกับการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสองหมวดหมู่จะอยู่ภายใต้หมวดหมู่การ์ตูน หรือ หมวดหมู่ "นักเทนนิส" กับ "โปรแกรมเมอร์" สามารถอยู่ในระดับเดียวกัน ภายใต้หมวดหมู่ "บุคคลแบ่งตามอาชีพ"หมวดหมู่ย่อยโดยปกติจะจัดขึ้นในกรณีที่บทความในหมวดหมู่นั้นมีมากเกินไป และยากต่อการค้นหา เช่น ในหมวดหมู่ หมวดหมู่:นักเขียน มีนักเขียนชาวไทย 40 ท่าน ขณะที่มีนักเขียนชาวจีน 2 ท่าน และนักเขียนชาวอเมริกัน 1 ท่าน หมวดหมู่ย่อยนักเขียนชาวไทยควรจะถูกสร้างขึ้น เพื่อง่ายต่อการค้นหา ในขณะเดียวกันหมวดหมู่ย่อยของนักเขียนชาวจีนและชาวอเมริกันอาจจะไม่มีการสร้างในตอนนั้นการทำสารบัญในหมวดหมู่ถ้าบทความมีบทความมาก ซึ่งจำทำให้ยากต่อการค้นหาสามารถเพิ่มในส่วนบนเป็น สารบัญแนวนอนโดยใส่ แม่แบบ {{สารบัญ}} ไว้ที่ส่วนหัวของหมวดหมู่นั้นหมวดหมู่ของชาวไร้สาระนุกรมชาวไร้สาระนุกรม ไม่ควรใส่หมวดหมู่ในหน้าของตัวเองยกเว้นหมวดหมู่ที่กำหนดไว้ เพื่อป้องกันการสับสนระหว่างหมวดหมู่ชีวประวัติของบทความ กับผู้เขียนหมวดหมู่ภาพดูที่การจัดหมวดหมู่ภาพในเมต้า (ภาษาอังกฤษ)การตั้งชื่อหมวดหมู่ชื่อหมวดหมู่ตั้งชื่อตามนโยบายการตั้งชื่อบทความ ตัวอย่างเช่น ตั้งชื่อหมวดหมู่เป็นภาษาไทย หรือตั้งชื่อหมวดหมู่เป็นคำนาม ไม่เป็นคำกริยา เช่น ตั้งเป็นหมวดหมู่:ความรัก แทนที่ หมวดหมู่:รักการจัดเรียงภายในหมวดหมู่ในหมวดหมู่จะมีการจัดเรียงตามตัวอักษรตามชื่อของบทความ เช่น ฟุตบอล และ บาสเกตบอล ในหมวดกีฬา จะถูกจัดอยู่ใน ฟ.ฟัน และ บ.ใบไม้ ตามลำดับ แต่ในบางกรณีอาจจะมีการจัดเรียงพิเศษเพื่อให้เหมาะสม เช่น บทความ ประเทศยุ่นปี่ และประเทศเทย ถ้าไม่มีการจัดพิเศษจะถูกจัดอยู่ในหมวด ป.ปลา (มาจากคำว่า ประเทศ นำหน้า) สำหรับการจัดหมวดหมู่ประเภทนี้ จำเป็นต้องใช้เครื่องหมายขีดตั้ง ( )เข้ามาช่วย เพื่อให้จัดได้เหมาะสม โดยใช้[[หมวดหมู่:ประเทศเทย]] และ [[หมวดหมู่:ประเทศยุ่นปี่]]สำหรับบทความประเทศยุ่นปี่ และเทยตามลำดับ เพื่อให้มีการจัดอยู่ใน ท.ทหาร และ ย.ยักษ์ในบทความภาษาไทย เนื่องจากโปรแกรมวิเกรียนพีเดียยังไม่รองรับการเรียงลำดับภาษาไทยอย่างเต็มที่ สระที่วางไว้หน้าตัวอักษร ได้แก่ สระ เ แ โ ไ ใ จะมีปัญหาในการจัดเรียง ซึ่งทำให้คำว่า ไทย ถูกจัดลำดับใน หมวด สระไอ โดยในปัจจุบันมีการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าโดยการนำตัวอักษรที่ต้องการจัดไว้ในหน้าก่อน เช่นประเทศไทย จัดโดย[[หมวดหมู่:ประเทศทไย]]แม้ว่าจะอ่านไม่ถูกหลักแต่ใช้ประโยชน์ในการจัดเรียงการจัดเรียงหมวดหมู่ที่อยู่ภายใต้ชื่อตัวเองให้ใส่เครื่องหมายขีดตั้งพร้อมเว้นวรรคตามหลัง เช่น บทความบุคคลสำคัญ ในหมวดหมู่หมวดหมู่:บุคคลสำคัญ[[:หมวดหมู่:บุคคลสำคัญ ]]เช่นนี้ จะทำให้บทความ บุคคลสำคัญ ปรากฎอยู่ที่ตอนต้นของรายการบทความในหน้า หมวดหมู่:บุคคลสำคัญนอกจากนี้อาจมีการจัดเรียงให้เหมาะสมในแต่ละหมวดหมู่ย่อยการใช้งานหมวดหมู่• การค้นหาสำหรับผู้อ่าน• การลิงก์จากบทความ ทำได้โดยใส่เครื่องหมาย โคลอน ( : ) ไว้หน้าคำว่า หมวดหมู่ เช่นต้องการลิงก์ไปที่หมวดหมู่ จิตวิทยา ให้ใส่ข้อความว่า [[:หมวดหมู่:ประเทศเทย]] ไว้ในบทความ• การทำหน้าเปลี่ยนทาง (REDIRECT) ไม่ควรทำในหมวดหมู่เนื่องจากทางซอฟต์แวร์วิเกรียนพีเดีย ไม่รองรับการเปลี่ยนทางของบทความภายในการเชื่อมโยงหมวดหมู่ไปที่หมวดหมู่ภาษาอื่นการเชื่อมโยงหมวดหมู่ไปที่หมวดหมู่ภาษาอื่นทำได้เหมือนการเชื่อมโยงบทความไปภาษาอื่น ประโยชน์ในการอ้างอิงถึงหมวดหมู่หลักและหมวดหมู่ย่อยที่ควรจะมี อย่างไรก็ตามในแต่ละภาษาอาจมีการจัดหมวดหมู่ที่เหมาะสมแตกต่างกันไป โดยหมวดหมู่ในภาษาหนึ่งอาจจะไม่ควรเป็นหมวดหมู่ในภาษาอื่นที่มา : การจัดหมวดหมู่ Investment Wik
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น